วิวัฒนาการของ CPU
CPU (Central Processing Units) หรือ หน่วยประมวลผล เป็นอุปกรณ์ ที่เป็นหัวใจของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพราะการทำงานทั้ง หมดไม่ว่าจะเป็นการคำนวณการยายข้อมูลการตัดสินใจ
เป็นการทำงานของซีพียู หากแต่ซีพียูจะต้องมีอื่นๆ งานร่วมเพราะอุปกรณ์ทุกตัวล้วนมีหน้าที่ในการ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิวัฒนาการของซีพียู
บริษัท อินเทล (Intel) เป็นบริษัทรายแรกที่ผลิตซีพียู เริ่มต้นผลิตเป็นซีพียูรุ่น 8080 หรือที่อินเทลเรียกว่า “Intel 8080” มีขนาด 8 บิต บรรจุทรานซิสเตอร์ประมาณ 50,000ตัว รูปร่างของไอซีจะเหมือนกับตีนตะขาบ โดยจะมีจำนวนขา40 ขาเรียกว่า PID :Dual In
Package ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น การผลิตซีพียูรุ่นต่อๆ มาก็เปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีแบบ VLS: Very Large Scale Integrate แทน
CPU Intel รุ่นต่างๆ
cpu 6502
intel 4004 Microprocessor รุ่นแรกของ Intel ใช้งานในเครื่องคิดเลข
เป็น CPU (Central Processing Unit) ขนาด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ จำนวน 2250 ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต 740 kHz
1972 : 8008 Microprocessor รุ่นที่พัฒนาต่อมา ใช้งานแบบ "TV typewriter" กับ dump terminal
รุ่น 8080 ในปี ค.ศ. 1974 Intel ผลิต 8080 เป็น microprocessor แบบ 8 บิทออกจำหน่าย ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ประมาณ 6,000 ตัว ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 2 MHz Ed Roberts เจ้าของบริษัท Micro Instrumentation Telemetry systems ได้จัดชุดคิท (ผู้ซื้อประกอบเอง) เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้ 8080 และลงโฆษณาในวารสาร Popular Electronic โดยมีราคา $397 ใช้ชื่อว่า Altair มีการสั่งซื้อเป็นหลายพันเครื่อง ทั้งที่เครื่องต้องโปรแกรม ด้วย สวิตช์ และแสดงผลทาง LED เท่านั้น ถือเป็น ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกๆ
Intel 8080
1989 : 80486 Microprocessor เข้าสู่ยุคของการใช้จอสี และมีการติดตั้ง Math-Coprocessor ในตัว
เป็นการทำงานของซีพียู หากแต่ซีพียูจะต้องมีอื่นๆ งานร่วมเพราะอุปกรณ์ทุกตัวล้วนมีหน้าที่ในการ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิวัฒนาการของซีพียู
บริษัท อินเทล (Intel) เป็นบริษัทรายแรกที่ผลิตซีพียู เริ่มต้นผลิตเป็นซีพียูรุ่น 8080 หรือที่อินเทลเรียกว่า “Intel 8080” มีขนาด 8 บิต บรรจุทรานซิสเตอร์ประมาณ 50,000ตัว รูปร่างของไอซีจะเหมือนกับตีนตะขาบ โดยจะมีจำนวนขา40 ขาเรียกว่า PID :Dual In
Package ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น การผลิตซีพียูรุ่นต่อๆ มาก็เปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีแบบ VLS: Very Large Scale Integrate แทน
CPU Intel รุ่นต่างๆ
cpu 6502
8bit
อาจไม่ใช่ชื่อที่คุ้นหูกันนัก แต่เชื่อว่าหลายคนคงเคยสัมผัสกับ 6502 รุ่นนี้มาบ้าง MOS Technology processor ซึ่งออกมาในปี 1975 ตัวนี้เคยใช้กันใน Apple I และ II, Atari 2600, Nintendo NES, Commodore PET และอื่นๆ อีกมากมาย สำหรับแฟนๆ ภาพยนตร์ อาจจะจำชื่อ processor รุ่นนี้ได้จากหนังของอาร์โนลด์ สวาร์ซเนกเกอร์ ทั้งเรื่อง Terminator ภาคแรก และ Futurama’s Bender
ที่น่าทึ่งคือ ยังมีการใช้ 6502 อยู่ในปัจจุบัน และไม่ได้ใช้กับเครื่องจักรกลตกรุ่นหรือเครื่องจักรกลในนิยายเสียด้วย processor ในตระกูล 6502 จำนวนมหาศาลยังคงทำงานอยู่กับเคริ่องจักรกลที่ใช้เฝ้าดูและควบคุมอุตสาหกรรม
intel 4004 Microprocessor รุ่นแรกของ Intel ใช้งานในเครื่องคิดเลข
เป็น CPU (Central Processing Unit) ขนาด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ จำนวน 2250 ตัว และเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต 740 kHz
1972 : 8008 Microprocessor รุ่นที่พัฒนาต่อมา ใช้งานแบบ "TV typewriter" กับ dump terminal
รุ่น 8080 ในปี ค.ศ. 1974 Intel ผลิต 8080 เป็น microprocessor แบบ 8 บิทออกจำหน่าย ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ประมาณ 6,000 ตัว ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 2 MHz Ed Roberts เจ้าของบริษัท Micro Instrumentation Telemetry systems ได้จัดชุดคิท (ผู้ซื้อประกอบเอง) เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้ 8080 และลงโฆษณาในวารสาร Popular Electronic โดยมีราคา $397 ใช้ชื่อว่า Altair มีการสั่งซื้อเป็นหลายพันเครื่อง ทั้งที่เครื่องต้องโปรแกรม ด้วย สวิตช์ และแสดงผลทาง LED เท่านั้น ถือเป็น ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกๆ
Intel 8080
เป็น microprocessor แบบ 8 บิทออกจำหน่าย ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ ประมาณ 6,000 ตัว ใช้สัญญาณนาฬิกาที่ความถี่ 2 MHz
1978 : 8086-8088 Microprocessor หรือรุ่น XT ยังเป็นแบบ 8 bit เป็น PC ที่เริ่มใช้งานจริงจัง
MHz
1982 : 80286 Microprocessor หรือรุ่น AT 16 bit เริ่มเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานแพร่หลายกันแล้ว
Intel 80286
มีความเร็วเพียงแค่ 6 เมกิเฮิรตช์ ซึ่งบัสของ 80286 เป็นแบบ 16 บิต ภายในมีทรานซิลเตอร์บรรจุอยู่ประมาณ 130 , 000 ตัว 6 MHz (4 MHz for a short time) to 25 MHz
1989 : 80486 Microprocessor เข้าสู่ยุคของการใช้จอสี และมีการติดตั้ง Math-Coprocessor ในตัว
รุ่นแรกๆ ทาง Intel ใช้ชื่อรุ่นเป็นรุ่นของ CPU นั้นๆเลยจึงเกิดการเลียนแบบเทคโนโลยีกันขึ้นโดยค่ายอื่นได้ผลิตเทคโนโลยีตามหลังIntelมาเรื่อยๆ ต่อมาทาง Intel ได้ใช้ชื่อ Pentium แทน 80486 เนื่องจากการที่ ชื่อสินค้าที่เป็นตัวเลขกฏหมายไม่ยอมให้จดลิขสิทธิ์ จึงเป็นที่มาของชื่อ Platform ต่างๆ
ntel 80486SX/ 80486 DX (1989-1994)
ซีพียูรุ่น 80486 มีความเร็วตั้งแต่ 20 , 25 , และ 33 เมกะเฮิรตซ์ ทำงานแบบ 32 บิต และมีแคช ภายใน
( Intel Cache ) ทำสามารถทำงานได้เร็วกว่ารุ่น 80386 ที่จำนวนของสัญญาณนาฬิกา เท่ากัน โดยในรุ่น 80486 SX ยังไม่มี Math Coprocess รวมอยู่ในซีพียู ต่อมาทางอินเทลก็ได้ออกเครื่องรุ่น 80486 DX มีความเร็วตั้งแต่ 50 , 66 , 100 เมกะเฮิรตซ์ เป็นซีพียูที่มีขีดความสามารถสูงขึ้นทั้งด้านความเร็วในการคำนวณและเทคโนโลยีโดยการรวม เอา Math Coprocessor และ แคชมารวมอยู่ในชิปเดียวกันกับซีพียู
1993 : Pentium Processor ยุคแรกที่ Intel ใช้ชื่อว่า Pentium
อินเทลเพนเทียม Intel Pentium (1993-1998)
ในช่วงแรกได้ผลิตออกมาที่ความเร็ว 60 และ66 เมกะเฮิรตซ์ อีกไม่นานนักอินเทลก็ได้ ผลิตความเร็วสูงขึ้นอีกเป็น 75 และ 90 เมกิเฮิรตซ์ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากรุ่นแรกๆ และยังสามารถพัฒนาความเร็วไปได้อีกคือ 100 , 13 , 150 และ 166 เมกะเฮิรตซ์ เป็นซีพียูที่มีขีด ความสามารถสูงขั้นทั้งทางด้านความเร็วและเทคโนโลยี มีแคชภายในมากขึ้น และมี ความสามารถในการทำงานกับเลขทศนิยมได้ดีขึ้น และมีความสามารถในการทำงานกับเลข ทศนิยมได้ดีขึ้นโดยรุ่นแรกๆนั้นมีทรานซิสเตอร์ล้านกว่าตัว จึงทำให้มีความร้อนสูงมาก
Intel 80386DX
ซึ่งภายในมี ทรานซิสเตอร์จำนวน 275,000 ตัว มีตัวรีจิสเตอร์ขนาด 32 บิต และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลขนาด 2 เท่าเมื่อเทียบกับ 80286
12 MHz to 40 MHz
Intel Pentium
60-200 MHz โดยมีความเร็วบัสที่แตกต่างกันทั้ง 50/66/75 MHz สำหรับแพ็คเกจที่ใช้ใน Intel Pentium ใช้ได้กับ Socket4, Socket5 เรียกว่าเป็นแพ็คเกจแบบ SPGA ซึ่ง Intel Pentium ในตอนแรกมีจำนวนทรานซิสเตอร์ในตัวเพียง 3.1 ล้านตัวเท่านั้น
1998 : Pentium II Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
Pentium II ตัวแรกที่ออกมานั้น มีแคช L2 สูงถึง 512-KB เลย ใช้แพ็คเกจแบบ SECC โดยมีรูปร่างซีพียูเอาไว้เสียบเป็น slot ลงเมนบอร์ด หรือที่เราเรียกว่า Slot 1 (SC242) ใช้ระบบบัส 66 MHz มีความเร็วซีพียูตั้งแต่ 233 - 333 MHz
1999 : Celeron(TM) Processor สำหรับตลาดระดับล่างของ Intel ที่ตัดความสามารถบางส่วนออก เพื่อลด ต้นทุนการผลิต และ สามารถขายได้ในราคาที่ถูกกว่า Pentium II มาก แต่ถึงแม้ Celeron ที่ออกมานั้น จะใช้ในงานด้าน เล่นเกมส์ได้ดี แต่กลับงานประเภท office application กลับทำได้แย่กว่า หรือ พอๆกับ Pentium MMX
ความสามารถของมันก็ไม่ได้เร็วอย่างที่คาดไว้ เพราะ แคชที่มีเพียง 32 K กับบัส ที่ความเร็ว 66 MHz ก็ไม่ได้ช่วยอะไรมากนัก และให้ชื่อรหัสการพัฒนาในรุ่นนี้ว่าโควินตัน ( Covignton )
1997 to early 1999 (Pentium II Deschutes)
Intel ได้ปรับปรุงระบบบัสจาก 66 MHz มาเป็น 100 MHz แล้ว มีการเปลี่ยนแปลงที่รหัสพัฒนาจาก Klamath เป็น Deschutes และยังใช้เทคโนโลยีการผลิตเล็กลงเหลือ 0.25 ไมครอน โดยหลายๆ อย่างยังคงเหมือนเดิม ทั้งการที่เป็น Slot 1 และมีแคชระดับสองที่ 512-KB สำหรับความเร็วซีพียู 350 - 450 MHz
1999: CELERON
แคชที่มีเพียง 32 K กับบัส ที่ความเร็ว 66 MHz ก็ไม่ได้ช่วยอะไรมากนัก และให้ชื่อรหัสการพัฒนาในรุ่นนี้ว่าโควินตัน ( Covignton )
1999 : Pentium III Processor เพิ่มชุดคำสั่งที่ช่วยประมวลผลในด้านต่างๆไปใหม่ ในลักษณะของ MMX
เป็นซีพียูที่มีความเร็วเริ่มต้นที่ 450 MHz ไปจนถึง 620 MHz ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด0.25 ไมครอน มีทรานซิสเตอร์จำนวน 28 ล้านตัว ใช้สถาปัตยกรรมแบบ SECC 2 (Single Edge Contact Cartridge 2 )
1999 : Pentium III Xeon(TM) Processor สำหรับ Server และ Work Station
ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน มีทรานซิสเตอร์จำนวน 28 ล้านตัว ซีพียูมีแพ็คเกจแบบ SECC2 และลดขนาดของหน่วยความจำแคชระดับสองลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่งคือ 256 KB แต่เป็น หน่วยความจำแคชที่สร้างบนชิปซีพียูซึ่งทำงานที่ความเร็วเดียวกับซีพียู เท่ากับว่าแคชของซีพียูคอปเปอร์ไมน์ทำงานเร็วเป็น 2 เท่า ของซีพียูแคทไม โดยหน่วยความจำแคชระดับสองนี้จะใช้ เทคโนโลยีใหม่ที่เรียกว่า Advanced Transfer Cache: ATC
2001 : Pentium 4 Processor มีเทคโนโลยี HT ทำให้การใช้งานทีละหลายโปรแกรมได้ดีขึ้น
Pentium 4
ใช้เทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน ใช้ระบบบัสแบบ Quad-Pumped Bus 400 MHz มีแคชระดับสองในตัวขนาด 256-KB ใช้ไฟ VCORE ที่ 1.700-1.750 V ซึ่งหลังจากที่ Pentium 4 รหัส Willamette Socket 423 มีความเร็วตั้งแต่ 1.30 GHz - 2.00 GHz
2005 : Pentium D มีการใช้สถาปัตยกรรมแบบ Multi-core เพิ่มเข้ามาโดยมี2 coreแต่ละ core จะเป็นอิสระต่อกัน
Pentium D
มีความเร็วตั้งแต่ 2.8 - 3.60GHz มี Cache L2 ตั้งแต่ 2 - 4MB มี FSB 800MHz ไม่มี Hyper-Threading มีระบบประหยัดพลังงาน Intel SpeedStep (ยกเว้น PentiumD820,805) รองรับ EM64T มีเทคโนโลยีป้องกันการโจมตีของไวรัส ใช้การผลิตแบบ 90 และ 65นาโนเมตร บน LGA775
2006 : Intel Core 2 Duo รองรับชุดคำสั่ง 64 bit และยังประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วย
มีความเร็วสูงสุด 2.6 GHz ในรุ่น E4700 ทำงานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
2006 : Intel Core 2 Quad-cor
Intel® Core™2 Quad
มีความเร็วสูงสุด 2.66 GHz ในรุ่น Q6700 ทำงานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด 95 W
January 7, 2010
Core i3
ซีพียูแบบ 2 แกน โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 4 Threads มาพร้อมกับความเร็วในการประมวลผลที่สูงถึง 3.4 GHz รองรับการทำงานในระบบปฏิบัติการทั้ง 32 bit และ 64 bit โดยมี L3 Cache 3 MB ขนาดของหน่วยความจำ 32 GB ประเภท DDR3-1333/1600 และมีระบบประมวลผลกราฟฟิก Intel HD Graphics 2500 ความเร็วตั้งแต่ 650 MHz ไปจนถึง 1.05 GHz
September 8, 2009:Intel Core i5
เป็นซีพียูแบบ 4 แกน โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 4 Threads มาพร้อมกับความเร็วในการประมวลผลที่สูงถึง 3.2 GHz และสามารถอัพเพิ่มได้ถึง 3.6 GHzรองรับการทำงานในระบบปฏิบัติการทั้ง 32 bit และ 64 bit โดยมี L3 Cache 6 MB ขนาดของหน่วยความจำ 32 GB ประเภท DDR3-1333/1600 และมีระบบประมวลผลกราฟฟิก Intel HD Graphics 4600 ความเร็วตั้งแต่ 350 MHz ไปจนถึง 1.15 GHz
March 16, 2010
ซีพียู ระดับไฮ-เอนด์จาก Intel ในรุ่น Intel Core i7 4770K เป็นซีพียูแบบ 4 แกน โดยแบ่งการทำงานออกเป็น 8 Threads มาพร้อมกับความเร็วในการประมวลผลที่สูงถึง 3.5 GHz และสามารถอัพได้สูงสุด 3.9 GHz รองรับการทำงานในระบบปฏิบัติการทั้ง 32 bit และ 64 bit โดยมี L2 Cache 4 X 256 KB และ L3 Cache 8 MB ขนาดของหน่วยความจำ 32 GB ประเภท DDR3-1333/1600 และมีระบบประมวลผลกราฟฟิก Intel HD Graphics 4600 ความเร็วตั้งแต่ 350 MHz ไปจนถึง 1.25 GHz
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น